วันพุธที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2567

 

                   ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๔ กถาวัตถุปกรณ์
             [๒๓๒] ส. พระอนาคามีละสักกายทิฏฐิขาดแล้ว พระอนาคามีย่อมไม่เสื่อมจาก
อนาคามิผล หรือ?
             ป. ถูกแล้ว
             ส. พระอรหันต์ละราคะขาดแล้ว ฯลฯ ละอโนตตัปปะขาดแล้ว พระอรหันต์
ย่อมไม่เสื่อมจากอรหัตผล หรือ?
             ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
             ส. พระอนาคามีละวิจิกิจฉาขาดแล้ว ฯลฯ ละพยาบาทอย่างละเอียดขาดแล้ว
พระอนาคามีย่อมไม่เสื่อมจากอนาคามิผล หรือ?
             ป. ถูกแล้ว
             ส. พระอรหันต์ละราคะขาดแล้ว ฯลฯ ละอโนตตัปปะขาดแล้ว พระอรหันต์
ย่อมไม่เสื่อมจากอรหัตผล หรือ?
             ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ


             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ บรรทัดที่ ๒๗๐๐-๒๗๑๑ หน้าที่ ๑๑๔. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=37&A=2700&Z=2711&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=37&item=232&items=1              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=37&item=232&items=1&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=37&item=232&items=1              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=37&item=232&items=1              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=37&i=232              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ http://84000.org/tipitaka/read/?index_37

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com

สีพื้นหลัง :


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น